-
-
ข้อมูล อบต.
-
สภาพทั่วไป
-
สภาพทางสังคม
-
สภาพทางเศรษฐกิจ
-
การบริการพืนฐาน
-
โครงสร้างองค์กร
-
ข้อมูลผู้บริหาร
-
ข้อมูลบุคลากร
-
อำนาจหน้าที่
-
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
-
ระบบจองคิวลงทะเบียนเด็กแรกเกิด
-
ระบบจองคิวเพื่อขอรับบริการออนไลน์
-
การบริการคู่มือสำหรับประชาชนประชาชน
-
การขอรับการสงเคราะห์ผู้ป่วยเอดส์
-
การขออนุญาตก่อสร้างอาคารตามมาตรา 21
-
การขออนุญาตเคลื่อนย้ายอาคาร
-
การจดทะเบียนพาณิชย์ (ตั้งใหม่)
-
การรับชำระภาษีบำรุงท้องที่
-
การรับชำระภาษีป้าย
-
การรับชำระภาษีโรงเรือนและที่ดิน
-
การขออนุญาตประกอบการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
-
การขออนุญาตประกอบการเก็บขนสิ่งปฏิกูล
-
การขออนุญาตการจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ
-
การต่อใบอนุญาตก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอนหรือเคลื่อนย้ายอาคาร
-
การลงทะเบียนและยื่นคำขอรับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ
-
การลงทะเบียนและยื่นคำขอรับเงินเบี้ยความพิการ
-
การรับสมัครเด็กก่อนวัยเรียน
-
คู่มือปฏิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
-
-
ข้อมูลเชิงสถิติผู้ขอรับบริการ
-
กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลงิ้ว
-
การเงินและบัญชี
-
งานจัดเก็บรายได้
-
งานงบประมาณ
-
ฐานข้อมูลน้ำเสีย
-
รายงานการประชุมสภา
-
รายงานการประชุมคณะผู้บริหาร
-
รายงานผลการตรวจสอบ
-
รายงานการประเมินประสิทธิภาพ(LPA)
-
คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน
-
ผลสำรวจความพึงพอใจของประชาชนผลสำรวจความพึงพอใจของประชาชน
-
แผนพัฒนาท้องถิ่น
-
แผนอัตรากำลัง
-
แผนการดำเนินงาน
-
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต
-
ร้องเรียนร้องทุกข์-ทุจริต
-
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงาน
-
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารองค์การบริหารส่วนตำบลงิ้ว
-
งานจัดซื้อจัดจ้าง
-
กฏหมายที่เกี่ยวข้อง
-
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
-
ฐานข้อมูลผู้สูงอายุ ผู้พิการ
-
การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปี
-
กลุ่มอาชีพในท้องถิ่น
-
ทะเบียนสุนัข - แมว
-
ระเบียบ/กฎหมายสภา
-
ศูนย์เรียนรู้กีฬาและนันทนาการองค์การบริหารส่วนตำบลงิ้ว
-
เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร
-
มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสและป้องกันการทุจริตภายในหน่วยงาน
-
ช่องทางการติดต่อ
-
รายงาน สขร.
-
ช่องทางร้องเรียนงานบริหารงานบุคคล
-
-
แบบฟอร์มติดต่อกลับ
-
หน้าแรก > การบริการคู่มือสำหรับประชาชนประชาชน > การรับชำระภาษีโรงเรือนและที่ดิน
การรับชำระภาษีโรงเรือนและที่ดิน
หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข (ถ้ามี) ในการยื่นคำขอ และในการพิจารณาอนุญาต
ตามพระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พุทธศักราช 2475 กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่ในการรับชำระภาษีโรงเรือนและที่ดินจากทรัพย์สินที่เป็นโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอื่นๆและที่ดินที่ใช้ต่อเนื่องกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นนั้น โดยมีหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ดังนี้1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เทศบาลหรือองค์การบริหารส่วนตำบล) ประชาสัมพันธ์ขั้นตอนและวิธีการชำระภาษี
2. แจ้งให้เจ้าของทรัพย์สินทราบเพื่อยื่นแบบแสดงรายการทรัพย์สิน (ภ.ร.ด.2)
3. เจ้าของทรัพย์สินยื่นแบบแสดงรายการทรัพย์สิน (ภ.ร.ด.2) ภายในเดือน กุมภาพันธ์
4. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตรวจสอบแบบแสดงรายการทรัพย์สินและแจ้งการประเมินภาษี(ภ.ร.ด.8)
5. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรับชำระภาษี (เจ้าของทรัพย์สินชำระภาษีทันที หรือชำระภายในกำหนดเวลา)
6. กรณีที่เจ้าของทรัพย์สินชำระภาษีเกินเวลาที่กำหนด (เกิน 30 วัน นับแต่ได้รับแจ้งการประเมิน)
ต้องชำระเงินเพิ่มด้วย
7. กรณีที่ผู้รับประเมิน (เจ้าของทรัพย์สิน) ไม่พอใจการประเมินสามารถอุทธรณ์ต่อผู้บริหารท้องถิ่นได้
ภายใน 15 วัน นับแต่ได้รับแจ้งการประเมิน